โรงแรม


โรงแรมสุขสบาย





งานชิ้นที่ 1


บทนำ

ประวัติโรงแรม
โรงแรมสุขสบายตั้งอยู่ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เป็นโรงแรมที่ให้บริการในด้านการพักผ่อนรวมถึงให้บริการด้านอาหารที่อร่อยถูกหลักอนามัย

วัตถุประสงค์ของบริษัท
1. สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าให้ได้มากที่สุด
2. เพื่อเพิ่มผลกำไรให้แก่บริษัทได้มากที่สุด
3. เพื่อลดความซ้ำซ้อนในการทำงาน
4. เพื่อพัฒนาศักยภาพของพนักงานในบริษัท
5. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการแก่ลูกค้า
6. เพื่อมาตรฐานในการบริการให้ได้ประสิทธิภาพ

เป้าหมายของบริษัท
1. เพิ่มผลกำไรให้ได้มากที่สุด
2. เพื่อเพิ่มมาตรฐานของบริษัทให้ก้าวนำคู่แข่งทางการตลาด

นโยบายบริษัท
1. นำเสนอการบริการที่มีคุณภาพต่อลูกค้า
2. ให้สมาชิกซึ่งเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจได้รับผลตอบแทนที่คุ้มค่า และยุติธรรม
3. ดูแลพนักงานทุกคนด้วยความเอาใจใส่เป็นครอบครัวเดียวกัน
4. ตอบแทนสังคมไทยด้วยความสำนึกรับผิดชอบ
5. ขยายธุรกิจระบบเครือข่ายไปต่างประเทศ

นโยบายด้านคุณภาพ
โรงแรม สุขสบายมีการจัดหลักสูตรอบรม และการบริการที่ดีแก่พนักงาน เพื่อ ส่งเสริมประสิทธิภาพของโรงแรม

วิสัยทัศน์
"พัฒนาการบริการให้ดี เพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าได้มากที่สุดและให้ลูกค้ากลับมาใช้บริการอีกครั้ง"
พันธกิจ
1. คิดค้นวิธีการใหม่ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการให้มากที่สุด
2. ส่งเสริมองค์กรของสมาชิกภายในโรงแรมให้ได้รับความรู้ความเข้าใจ ในการบริการและการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า
3. สร้างขวัญและกำลังใจให้พนักงาน ตระหนักถึงหน้าที่ความรับผิดชอบที่มีต่อโรงแรม


โครงสร้างโรงแรม


โครงสร้างของโรงแรม

 หลักการและเหตุผล
           เนื่องจากปัจจุบันการท่องเที่ยวในประเทศไทย เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ซึ่งปัจจุบันสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการท่องเที่ยวทางน้า ทางจราจร ตามเทศกาลต่างๆ หรือแม้กระทั่งการท่องเที่ยวตามฤดูกาล ล้วนเป็นการท่องเที่ยวที่น่าสนใจ เป็นแหล่งดึงดูดให้นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ เข้ามาเที่ยวในประเทศไทยมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้เศรษฐกิจในประเทศดีไปด้วย นอกจากนี้แล้วสิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งที่มาพร้อมกับการท่องเที่ยวคือ เรื่องของสถานที่พักอาศัยที่เปิดให้บริการแก่นักท่องเที่ยวไม่ว่าจะเป็น โรงแรม รีสอร์ท บ้านพักต่างอากาศ บังกะโล หรือเต็นท์พักอาศัย เป็นการบริการที่พักแก่นักท่องเที่ยวตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆเพื่ออานวยความสะดวก ในบางครั้งการทางานของสถานที่พักก็มีปัญหาในเวลาที่มีนักท่องเที่ยวเข้ามาพักในเวลาเดียวกันจำนวนมาก เพราะการทางานในด้านการจองห้องพักยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร


ปัญหาที่พบในการทำงาน
การทำงานในด้านการจองห้องพักที่ไม่มีประสิทธิภาพนั้น ทำให้เกิดปัญหาหลายๆอย่างเนื่องจาก
1.การทำงานของผู้ให้บริการสถานที่พักอาศัย ยังเป็นการทำงานระบบเอกสารที่ยุ่งยากต่อการจัดเก็บข้อมูลและยากต่อการตรวจสอบข้อมูล
2.ในการทางาน และอาจเกิดปัญหาเนื่องจากการทำงานด้านการจองห้องพักต้องใช้พนักงานในการทำงานหลายคน พนักงานอาจทางานผิดพลาดเพราะความวุ่นวายของการเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้อง หรือการทางานยังเป็นระบบการทางานแบบเดิมที่ไม่ทันสมัยใช้กับระบบปฏิบัติการวินโดว์รุ่นเก่าๆที่มีความสามารถในการทางานยังไม่ดีพอและไม่เสถียร
3.การบันทึกข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกได้ยาก อาทิเช่น การตรวจสอบจำนวนห้องพักที่เหลือ
            4.ข้อมูลการเข้าพักในแต่ละวัน ทำให้เกิดความล้าช้าหรืออาจผิดพลาดได้


วิธีการดำเนินการ
    - ค้นหาและเลือกสรรโครงการ
    - จัดตั้งและวางแผนโครงการ
    - วิเคราะห์ระบบ
    - ออกแบบเชิงตรรกะ
    - ออกแบบเชิงกายภาพ
    - พัฒนาและติดตั้งระบบ
   - ซ่อมบำรุงระบบ

ขั้นที่ 1
ค้นหาและเลือกสรรโครงการ
(Project Identification and Selection)

1   1.  การค้นหาโครงการที่ต้องการพัฒนา


2. การจำแนกและจัดกลุ่มโครงการ
ระบบการจองห้องพัก (  

    ซึ่งระบบนี้จะทำหน้าที่รับจองห้องพัก หรือ สำรองห้องพัก ของ โปรแกรมบริหารงานโรงแรม โดยสามารถจองได้ทั้งแบบ Individual หรือ จองห้องพักแบบกลุ่ม (Group) เมื่อมีการจองสามารถระบุได้ว่าผู้จองทำการจองห้องพักวันไหน, จองกี่คืน, ราคาเท่าไหร่, ใครเป็นผู้รับจอง และ สามารถตรวจสอบห้องว่างได้ นอกจากนี้การจองยังรองรับการชำระ เงิน ล่วงหน้าได้ ซึ่งการจองจะไม่ระบุหมายเลขห้องพัก แต่ จะระบุประเภทห้องพักที่ต้องการ และ สามารถจองได้พร้อมๆกันได้หลายห้อง 

ระบบสต็อกสินค้า ( Inventory system) 

    สำหรับระบบสต๊อกสินค้าใน โปรแกรมบริหารงานโรงแรม จะแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ สต็อกห้องพัก และ สต็อกกลาง โดยสามารถเชื่อมโยงข้อมูลการขายห้องพักได้ อีกทั้งมีระบบการเบิกสินค้าจากสต็อกกลางไปยังสต็อกภายในห้องพัก รวมทั้งสินค้าที่เป็น Complementary โดยการตั้งรหัสสินค้าสามารถเพิ่มรูปภาพ, แตกหน่วยสินค้า, เพิ่มคลังสินค้าตามห้องพักได้ อีกทั้งรองรับระบบการคิดต้นทุนสินค้า แบบ ต้นทุนมาตรฐาน และ แบบ ต้นทุนเฉลี่ย หรือ ไม่คิดต้นทุน และ สามารถเลือกได้ว่าจะให้มีการตัดสต็อกหรือไม่ 

ระบบการจัดซื้อสินค้า และ เบิกสินค้า ( Buy system ) 
    ซึ่งระบบนี้จะทำหน้าที่ในการจัดซื้อ สินค้าเพื่อนำรายการสินค้านั้นเข้าไปสู่ระบบ สต็อกสินค้า และ สรุปรายงานต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อ ไม่ว่าจะเป็นรายงานการจัดซื้อ ประจำวัน , เดือน , ปี , ตามรหัสสินค้า หรือ ตามชนิดการชำระเงิน เป็นต้น โดยระบบการการเบิกสินค้า สามารถที่จะตั้งรหัสการเบิกได้เอง เช่น เบิกใช้ , เบิกทิ้ง เป็นต้น โดยการการเบิกสินค้าจะมีการตัดสินค้าออกจากคลังสินค้า และ สรุปรายงานการเบิกสินค้าแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรายงานการเบิกสินค้า ประจำวัน , เดือน , ปี , ตามรหัสสินค้าหรือ ตามผู้เบิก เป็นต้น

ระบบงานบริการ ( Service system) 
    ระบบนี้จะเป็นระบบที่ใช้สำหรับงานบริการทางด้านต่างๆ เช่น ระบบการทำความสะอาดห้องพัก (House Keeping), ระบบการซ่อมบำรุงห้องพัก, ระบบแจ้งเตือนผู้เข้าพัก Guest Message และ ระบบการฝากข้อความระหว่างพนักงาน  

3.การเลือกโครงการที่เหมาะสม

     จากข้อมูลการแสดงประสิทธิภาพในการทำงานของแต่ละระบบ ตามวัตถุประสงค์ของบริษัท พบว่าโครงการจองห้องพักโรงแรมตรงตามวัตถุประสงค์ขององค์กรมากที่สุด

ทีมงานผู้รับผิดชอบ

      ทีมงานผู้รับผิชอบโครงการที่จะได้รับมอบหมาย คือบุคคลดังต่อไปนี้
1. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ตลอดจนการเก็บรวบรวมข้อมูลและติดต่อประสานงานระหว่างผู้ใช้กับทีมโปรแกรมเมอร์ จัดทำเอกสารของระบบ ทดสอบโปรแกรมของระบบ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. โปรแกรมเมอร์ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ ทำหน้าที่ในการเขียนและติดตั้งโปรแกรมของระบบ รวมทั้งทดสอบโปรแกรมและพัฒนาตัวต้นแบบ (Prototype) เพื่อสอบถามความคิดเห็นและผลการตอบรับ (Feedback) จากผู้ใช้ระบบ


_________________________________________________________________________________


ขั้นตอนที่ 2
เริ่มต้นและวางแผนโครงการ
(Project initiating and planning)

1.การเริ่มต้นโครงการ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
2. เพื่อสะดวกในการจัดเก็บข้อมูลการเข้าพัก
3. เพื่อคำนวณค่าบริการและออกใบเสร็จค่าบริการ

เป้าหมาย

- เชิงคุณภาพ
    ระบบการจองห้องพักโรงแรม สามารถนาไปใช้งานได้จริง


 - เชิงปริมาณ
1. ระบบสารสนเทศเรื่องการพัฒนาระบบการจองห้องพักโรงแรม
 2. คู่มือระบบการใช้งานระบบการพัฒนาการจองห้องพักโรงแรม

2.การเสนอแนวทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้งาน

    จัดตั้งทีมงานแล้วทีมงานจะต้องศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อนำเสนอทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้งาน โดยมีวัตถุประสงค์ การวิเคราะห์แนวทางเลือกที่เหมาะสม รวมทั้งต้นทุนของแต่ละแนวทางเลือก เพื่อประกอบการตัดสินใจวิธีการเสนอแนวทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้งาน

1. ค้นหาและสร้างแนวทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้
2. เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด

ประมาณการระยะเวลาดำเนินงาน
ระยะเวลาในการดำเนินงานการวิเคราะห์ระบบของโรงแรม ที่ต้องการนำระบบมาใช้ในการทำงานในส่วนของระบบจองห้องพักโรงแรมความสะดวกในส่วนของการ ซึ่งก่อนที่จะได้เริ่มทำงานนั้นเราจะต้องใช้ระยะเวลาในการศึกษาถึงขั้นตอนต่าง ๆ  เป็นระยะเวลาประมาณ  5 เดือน คือ เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง พฤษภาคม 2555 ซึ่งสามารถแสดงรายละเอียดการดำเนินงานได้ดังนี้


_______________________________________________________________

ขั้นตอนที่ 3
วิเคราะห์ระบบ
(System Analysis)

 1.กำหนดความต้องการของระบบ

   เมื่อโครงการพัฒนาระบบการจองห้องพักโรงแรม ได้รับการอนุมัติจากการนำเสนอโครงการในขั้นตอนที่ผ่านมา ดั้งนั้นจึงเริ่มต้นด้วยความการเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากระบบเดิม ในการกำหนดความต้องการครั้งนี้ ทีมงานเลือกใช้วิธีการออกแบบสอบถาม (Questionnaire)

แบบสอบถาม


 การวิเคราะห์ความต้องการของระบบใหม่ (แบบจำลองขั้นตอนการทำงานของระบบ)
            จากการวิเคราะห์ความต้องการของระบบใหม่ที่รวบรวมได้จากแบบสอบถาม โดยสามารถจำลองได้ด้วยแผนภาพกระแสข้อมูล(Data Flow Diagram) ดังนี้


รูปภาพแสดง Context Diagram Level 0

       จาก Context Diagram ของระบบการจองห้องพักโรงแรม Process จะใช้แทนการทำงานทุกขั้นตอนของระบบนี้ โดย External Agents ที่เกี่ยวกับระบบการจองห้องพักโรงแรม ได้แก่ ลูกค้า พนักงาน ผู้จัดการ แผนกการเงิน ซึ่งมีข้อมูลรับเข้าและส่งออกระหว่าง External Agents ดังกล่าวในระบบ ทำให้ทราบว่าระบบการจองห้องพักโรงแรม สามารถทำอะไรได้บ้างและเกี่ยวข้องกับใครบ้าง สามารถอธิบายมีข้อมูลเข้าออกอะไรบ้าง ของระบบ ดังนี้
         1. ลูกค้า
-                   ส่งข้อมูลลูกค้า และข้อมูลการสั่งจองห้องเข้าสู่ระบบ
-                   ภายในมีระบบขั้นตอนการทำงาน ในการจัดการการจองห้องพักจึงสามารถแสดงสัญญาการเข้าพัก ใบเสร็จรับเงินให้กับลูกค้าได้
         2. พนักงาน
-                   เมื่อได้รับข้อมูลลูกค้าและการสั่งจองห้องพักของลูกค้า พนักงานจะส่งข้อมูลการจองห้องพักไปตรวจสอบห้องพัก
-                   เมื่อระบบทำงานเรียบร้อยแล้วจะแจ้งการรายงานสถานะของห้องพักและรายงานข้อมูลการจองให้กับพนักงาน
3     3. ผู้จัดการ
-                   เมื่อผู้จัดการต้องการทราบหรือแก้ไขข้อมูลต่างๆ จะส่งข้อมูลการพิมพ์รายงานเข้าสู่ระบบ
-                   เมื่อระบบทำการประมวลผลเสร็จเรียบร้อยแล้วจะส่งข้อมูลที่ผ่านการปรับปรุงเรียบร้อยแล้วและรายงานต่างๆ ให้กับผู้จัดการ
         4.  แผนกการเงิน
-                   เมื่อแผนกการเงินต้องการทราบรายได้ ค่าใช่จ่ายและเรียกดูข้อมูลลูกค้าที่มาเข้าพัก แผนกการเงินจะส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบ
-                   เมื่อระบบประมวลผลข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้วจะส่งรานงานบันทึกค่าใช้จ่าย สรุปรายได้และรายละเอียดเกี่ยวกับลูกค้าที่มาเข้าพักให้กับแผนกการเงิน

Level 1 Process 1 ปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลัก

Level  1 Process 2 การจองห้องพัก


Level   1 Process 3 การเข้าพัก

Level  1 Process 4 เช็คเอ้าท์



Level 1 Process 5 พิมพ์รายงาน

Level 2 Process การจ้องห้องพัก



Level 2 Process การเข้าพัก

 Level 2 Process เช็คเอ้าท์


การวิเคราะห์ความต้องการของระบบใหม่
     จากการวิเคราะห์ความต้องการของระบบใหม่ที่รวบรวมได้จากแบบสอบถาม โดยสามารถจำลองได้ด้วยแบบจำลองข้อมูล(E R Diagram) ดังนี้

รูปภาพแสดง E R Diagram 1


รูปภาพแสดง E R Diagram 2


รูปภาพแสดง E R Diagram 3


รูปภาพแสดง E R Diagram 4



รูปภาพแสดง E R Diagram 5


Data Dictionary












แบบฟอร์ม Admin


หน้าล็อกอิน


ฟอร์มล็อกอินสำหรับAdmin

1.1เพิ่มลูกค้า


แบบฟอร์มเพิ่มลูกค้า

1.2  การแก้ไขและลบข้อมูลลูกค้า



แบบฟอร์มแก้ไขและลบข้อมูลลูกค้า

1.3เพิ่มการจองห้องพัก


แบบฟอร์มเพิ่มการจองห้องพัก

1.4 แก้ไขการจองและลบห้องพัก


แบบฟอร์มการจองและลบห้องพัก

























1.5 ข้อมูลการเข้าพักและการเช็คเอ้าท์



แบบฟอร์มการเข้าพักและการเช็คเอ้าท์

1.6 การเพิ่มห้องพัก


แบบฟอร์มการเพิ่มห้องพัก






1.7 การแก้ไขและลบห้องพัก




แบบฟอร์มการแก้ไขและลบห้องพัก

1.8 เพิ่มพนักงาน


แบบฟอร์มการเพิ่มพนักงาน

1.9 แก้ไขและลบพนักงาน


แบบฟอร์มการแก้ไขและลบพนักงาน